วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2561

5. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ


 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็น การสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนา และยินยอมของรัฐสภา เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2542


    การศึกษา ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ คือ “การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอก งามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต
 


หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6-7
พระราชบัญญัติฉบับนี้มีเจตนารมณ์ที่ต้องการเน้นย้ำว่าการ จัดการศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ เก่ง ดี มีสุข ปลูกจิตสานึกที่ถูกต้อง การเมือง การปกครอง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ภาคภูมิใจในความเป็น ไทย อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ

การจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้ การศึกษาตลอดชีวิต พัฒนาสาระและ กระบวนการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง สังคมมีส่วนร่วม
การจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้ มีเอกภาพด้านนโยบายหลากหลายการปฏิบัติ กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น มีมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมขององค์กรต่างๆ

 
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
            1. บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมี คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย

            2. บุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางด้านต่าง ๆ หรือมีร่างกายพิการ หรือมีความต้องการเป็นพิเศษ หรือผู้ด้อยโอกาสมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
             3. บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาทั้งภาคบังคับ และนอกเหนือจากภาค บังคับตามความพร้อมของครอบครัว
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (ต่อ)
            4. บิดามารดา บุคคล ชุมชน องค์กร และสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมที่ สนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตามควร แก่กรณีดังนี้

              - การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรม เลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรหรือผู้ซึ่งอยู่ในความดูแล รวมทั้งเงินอุดหนุน สาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
              - การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (ต่อ) สิทธิ เรียนฟรี อย่างน้อย 12 ปี อย่างมีคุณภาพ สิทธิและโอกาสพิเศษ สาหรับผู้มีความบกพร่อง พิการ ทุพพลภาพ ตั้งแต่ แรกเกิด รูปแบบที่เหมาะสม กับผู้ที่มีความสามารถ พิเศษ
                หน้าที่ ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแล ได้รับการศึกษาภาคบังคับ
           สิทธิในการ จัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานรัฐ เอกชน องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น
สิทธิของบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง สนับสนุน จากรัฐ เงินอุดหนุน ลดหย่อยภาษีหรือ ยกเว้นภาษี -การศึกษา -การเลี้ยงดู
            สิทธิผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา ผู้สนับสนุน การจัด การศึกษา ความรู้ความ สารถในการ อบรมเลี้ยงดู เงินอุดหนุน การหลดหย่อน หรือยกเว้นภาษี

หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21
     สถานศึกษาจัดได้ทั้งสามรูปแบบ และให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม การศึกษาในระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษานอกระบบ
  1. การศึกษาในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา ระดับปริญญา ไม่น้อยกว่า 12 ปี ระดับและประเภทเป็นไปตามกฎหมายกำหนด
  2. การศึกษา ภาคบังคับ 9ปี ย่างปีที่ 7 ถึงย่างปีที่ 16 ยกเว้นสอบได้ ปีที่ 9 การนับอายุ เป็นไปตามกฎกระทรวง
          สถานศึกษา สถานพัฒนาปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การรียน สถานที่เรียนที่หน่วยงาน จัดการศึกษานอกโรงเรียน ประชาชนเป็นผู้จัด โรงเรียนของรัฐ เอกชน โรงเรียนสังกัดสถาบัน พุทธศาสนา หรือศาสนา อื่น -ศูนย์เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก หรือสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น
 
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22-30
         การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ดังนั้น กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาทั้งสามรูปแบบในหมวด 3 ต้องเน้นทั้ง ความรู้ คุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้ ในเรื่องสาระความรู้ ผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถ พัฒนาตนเอง ได้ มีความสำคัญ ที่สุด การศึกษาทุกระบบ ความรู้ กระบวนการเรียนรู้ และบูรณการตาม ความเหมาะสม ตามระดับ คุณธรรม ความรู้ ตนเอง ชุมชน ชาติ สังคมโลก ความรู้ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬาภูมิ ปัญญาไทย คณิตศาสตร์ และภาษา ความรู้และ ทักษะใน การ ประกอบ อาชีพ พัฒนาการ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การทดสอบ การประเมิน ผู้เรียน
         หลักสูตรแกนกลาง โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน หลักสูตรแกนกลาง การดารงชีวิต การประกอบ อาชีพ การศึกษาต่อ เพื่อความ เป็นไทย ความเป็น พลเมืองดี
 
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 33-46
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
          1.ระดับชาติ ให้มีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอำนาจ หน้าที่ กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมทั้ง การ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กระทรวง มีองค์กรหลักที่เป็นคณะ บุคคลในรูปสภาหรือ คณะกรรมการสี่องค์กร คือ
                        โครงสร้างกระทรวง 4 องค์กรหลัก
               สภาการศึกษา
               คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
               คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
               คณะกรรมการการอุดมศึกษา
        หน้าที่ของกระทรวง ส่งเสริมและกากับดูแลการศึกษาทุกระดับ กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ส่งเสริม ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬา ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล การจัดการศึกษา
         2. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอุดมศึกษา ระดับต่ำ กว่าปริญญา ให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงปริมาณ สถานศึกษา และจานวนประชากรเป็นหลัก
         3. ระดับสถานศึกษา ให้แต่ละสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อ ทาหน้าที่กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาและจัดทา สาระของหลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิ ปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ส่วนที่ 2การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น อปท จัดการศึกษาได้ทุก ระดับ ความพร้อมและความ ต้องการของท้องถิ่น กระทรวงกำหนด หลักเกณฑ์และ วิธีการประเมิน
ส่วนที่ 3การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชน รัฐสนับสนุนด้านเงิน อุดหนุน การลดหย่อน หรือยกเว้นภาษี สิทธิ ประโยชน์อื่น มีความเป็น อิสระ กากับ ติดตาม ประเมิน คุณภาพและ มาตรฐานจากรัฐ เป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการ บริหาร
 
 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
                 -ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก  เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
                   บริหาร
                 - รายงานต่อต้นสังกัด เผยแพร่ต่อสาธารณชน
                 -โดยสำนักงานรับรองและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
                 -อย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี
 
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 42-57
      ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ตามมาตรา 53 ทาให้เกิด พรบ. สภาครูและ บุคลากรทางการศึกษา 2546 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู ตามมาตรา 54 ทาให้เกิด พรบ.
              ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
       ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการ ศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชน ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ ยกเว้น ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาในศูนย์การ เรียน วิทยากรพิเศษ และผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
       คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา องค์กรวิชาชีพ ผู้บริหาร ครู คณาจารย์ผู้บริหาร สถานศึกษา และผู้บริหาร การศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาระดับ ปริญญา -กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบ วิชาชีพ -กำกับดูแล การปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ -ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู -ต้องมีใบประกอบวิชาชีพผู้บริหาร -ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู -ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
 
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา 48-62
      ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่นและต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษา
      ระดมทรัพยากร รัฐ เอกชน อปท บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาบัน ประกอบการ สถาบันสังคมอื่น
      จัดสรรงบประมาณแผ่นดิน จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป เป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล รัฐและเอกชนเท่าเทียมกัน จัดสรรทุนการศึกษา ในรูป กองทุนกู้ยืม จากครอบครัว ผู้รายได้น้อย จัดสรรงบประมาณและ ทรัพยากรทางการศึกษาอื่น เป็นพิเศษ
 
 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
           หน้าที่ของรัฐ จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนาและโครงสร้าง พื้นฐานที่จาเป็นต่อการ ส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี ส่งเสริมและสนับสนุนในการผลิตและพัฒนา แบบเรียน ตารา สื่อ พัฒนาบุคลากรด้านผู้ผลิตและผู้ใช้ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกับบล็อก

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักสูตร โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.พิจิตรา  ธงพานิช สาขาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ผ...